ชื่อ: ญี่ปุ่นสมัยโชวะ ประวัติศาสตร์บอกเล่าจากพ่อสู่ลูก
โฮะโซะกาว่า ฮิซาซิ
สำนักพิมพ์: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์
หมวดหลัก: 950 ประวัติศาสตร์ทวีปเอเชีย
คงเหลือ: 1
เนื้อหาอีบุ๊ค
ญี่ปุ่นสมัยโชวะ ประวัติศาสตร์บอกเล่าจากพ่อสู่ลูก ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นสมัยโชวะพร้อมพรั่งไปด้วยบทเรียนสอนใจจำนวนมากมาย สมัยนี้ประกอบไปด้วยเรื่องราวทั้งมวลในประวัติศาสตร์ มนุษยชาติ มีทั้งการสงคราม การพ่ายแพ้สงคราม ยิ่งกว่านั้นยังมีการยึดครอง การก่อการร้าย ความวุ่นวายจากการปฏิวัติ การอดอยาก จนกระทั่งการขาดแคลนอาหาร สิ่งสำคัญสำหรับพวกเราคือ การพยายามเรียนรู้บทเรียนจากประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นสมัยโชวะอย่างอ่อน น้อมถ่อมตน หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือเขียนเล่าจากมุมมองส่วนตัวของข้าพเจ้า เพื่อถ่ายทอดแก่ลูกหลานว่า ควรจะมองประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นสมัยโชวะ อย่างไร ข้าพเจ้าเขียนด้วยความมุ่งหวังที่จะให้รุ่นลูกของข้าพเจ้า ซึมทราบเรื่องราวในสมัยที่ข้าพเจ้าและสมัยทีรุ่นปู่ย่าตายาย รุ่นพ่อ แม่มีชีวิตอยู่ ข้าพเจ้าไมได้เขียนโดยตั้งอยู่บนพื้นฐานทรรศนะทางประวัติศาสตร์หรือแนวความคิดเฉพาะแต่อย่างไร อีกทั้งไม่ได้คิดที่จะตัดสินชี้ขาด ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นสมัยโชวะ ไม่ได้คิดจะพิพากษาโทษหรือเสริมแต่งประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นสมัยโชวะให้ดูงดงามขึ้น เป็นเพียงการมองใน ฐานะประชาชนคนหนึ่งอย่างอ่อนน้อมถ่อมตน ถึงภาพชีวิตของผู้คนที่ยืนหยัดใช้ชีวิตกันมา
ญี่ปุ่นสมัยโชวะ ประวัติศาสตร์บอกเล่าจากพ่อสู่ลูก ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นสมัยโชวะพร้อมพรั่งไปด้วยบทเรียนสอนใจจำนวนมากมาย สมัยนี้ประกอบไปด้วยเรื่องราวทั้งมวลในประวัติศาสตร์ มนุษยชาติ มีทั้งการสงคราม การพ่ายแพ้สงคราม ยิ่งกว่านั้นยังมีการยึดครอง การก่อการร้าย ความวุ่นวายจากการปฏิวัติ การอดอยาก จนกระทั่งการขาดแคลนอาหาร สิ่งสำคัญสำหรับพวกเราคือ การพยายามเรียนรู้บทเรียนจากประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นสมัยโชวะอย่างอ่อน น้อมถ่อมตน หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือเขียนเล่าจากมุมมองส่วนตัวของข้าพเจ้า เพื่อถ่ายทอดแก่ลูกหลานว่า ควรจะมองประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นสมัยโชวะ อย่างไร ข้าพเจ้าเขียนด้วยความมุ่งหวังที่จะให้รุ่นลูกของข้าพเจ้า ซึมทราบเรื่องราวในสมัยที่ข้าพเจ้าและสมัยทีรุ่นปู่ย่าตายาย รุ่นพ่อ แม่มีชีวิตอยู่ ข้าพเจ้าไมได้เขียนโดยตั้งอยู่บนพื้นฐานทรรศนะทางประวัติศาสตร์หรือแนวความคิดเฉพาะแต่อย่างไร อีกทั้งไม่ได้คิดที่จะตัดสินชี้ขาด ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นสมัยโชวะ ไม่ได้คิดจะพิพากษาโทษหรือเสริมแต่งประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นสมัยโชวะให้ดูงดงามขึ้น เป็นเพียงการมองใน ฐานะประชาชนคนหนึ่งอย่างอ่อนน้อมถ่อมตน ถึงภาพชีวิตของผู้คนที่ยืนหยัดใช้ชีวิตกันมา